หลักสูตร " เจาะลึก ประเด็นปัญหาสำหรับบัญชีสินค้าคงเหลือและรายงานสินค้าและวัตถุดิบ "
เข้าใจระบบสต็อค เข้าใจประเด็นปัญหา การนำสินค้าไปลด แลก แจก แถม หรือเป็นตัวอย่าง ให้กับลูกค้าทำอย่างไรจึงจะถูกต้องทั้งทางบัญชีและภาษี แนวทางปฏิบัติ และข้อกฎหมาย เกี่ยวกับสินค้าสูญหาย เสียหาย เสื่อมสภาพ ส่งผลให้สินค้าขาด/เกินจากรายงานต้องปฏิบัติอย่างไร การทำลายสินค้า การตรวจนับสินค้าและวัตถุดิบสิ้นปี ให้รัดกุมถูกต้องๆปฏิบัติอย่างไร รวมถึงการตรวจนับ STOCK มีสินค้าขาด - เกินต้องปฏิบัติอย่างไร
สอนเป็นกลุ่มย่อย
(ราคานี้รวม เอกสารการสอน เครื่องเขียน อาหารกลางวัน อาหารว่าง เครื่องดื่มเรียบร้อยแล้ว )
เจาะลึก ประเด็นปัญหาสำหรับบัญชีสินค้าคงเหลือและรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เข้าใจระบบสต็อก เข้าใจประเด็นปัญหา การนำสินค้าไปลด แลก แจก แถม หรือเป็นตัวอย่าง ให้กับลูกค้าทำอย่างไรจึงจะถูกต้องทั้งทางบัญชีและภาษี แนวทางปฏิบัติ และข้อกฎหมาย เกี่ยวกับสินค้าสูญหาย เสียหาย เสื่อมสภาพ ส่งผลให้สินค้าขาด/เกินจากรายงานต้องปฏิบัติอย่างไร การทำลายสินค้า การตรวจนับสินค้าและวัตถุดิบสิ้นปี ให้รัดกุมถูกต้องๆปฏิบัติอย่างไร รวมถึงการตรวจนับ STOCK มีสินค้าขาด – เกินต้องปฏิบัติอย่างไร การจัดทำบัญชีสินค้า และรายงานสินค้าและวัตถุดิบให้ถูกต้อง และสอดคล้องกับระบบบัญชีและภาษีอากร การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ ตามวิธี Periodic Inventory Method และวิธี Perpetual Inventory Method ว่าต่างกันอย่างไร และหลักการเลือกวิธีการใดจึงเหมาะสมกับธุรกิจ ประเด็นปัญหา การนำสินค้าไปลด แลก แจก แถม หรือเป็นตัวอย่าง ให้กับลูกค้าทำอย่างไรจึงจะถูกต้องทั้งทางบัญชีและภาษี แนวทางปฏิบัติ และข้อกฎหมาย เกี่ยวกับสินค้าสูญหาย เสียหาย เสื่อมสภาพ ส่งผลให้สินค้าขาด/เกินจากรายงาน เอกสารที่ต้องจัดทำสำหรับระบบสินค้าคงคลังเพื่อให้เกิดความรัดกุมและมีมาตรฐานในการทำงาน การทำลายสินค้าและวัตถุดิบตามคำสั่งกรมสรรพากรมีวิธีการอย่างไร วิธีการตรวจนับและการบันทึกการตรวจนับสินค้าและวัตถุดิบสิ้นปี และวิธีปฏิบัติที่รัดกุมถูกต้อง ความหมายของของเสีย เสียปกติ เสียเกินปกติ เศษซาก สินค้าต่ำกว่ามาตรฐาน การบันทึกบัญชี และแนวทางปฏิบัติตามประมวลรัษฎากร ควรปรับปรุงวิธีการตรวจนับ Stock อย่างไรให้ตรงกับข้อเท็จจริง การวางระบบควบคุมภายใน เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดจากสินค้าขาดจากรายงาน การถูกขโมย ฯลฯ การตรวจนับ STOCK มีสินค้าขาด - เกินต้องปฏิบัติอย่างไร สรุป/ถาม- ตอบ จรรยาบรรณ
|